วันพุธที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
วันพุธที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
ข่าวหน้ารู้
ฝากขังยายฆ่าหลาน ค้านประกันตัว
วันพุธ ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
พนักงานสอบสวน สน.พระโขนง นำตัวยายที่ก่อเหตุฆ่าหลานตัวเอง ไปฝากขังที่ศาลจังหวัดพระโขนง พร้อมคัดค้านการประกันตัว ขณะที่ยายยอมรับผิด และขอชดใช้กรรมในคุก ห้ามไม่ให้ลูกสาวยื่นประกัน
พนักงานสอบสวน สน.พระโขนง ได้ควบคุมตัวยายไปขออำนาจศาลจังหวัดพระโขนงฝากขังในข้อหาฆ่าผู้อื่น พร้อมกับคัดค้านการประกันตัว โดยให้เหตุผลว่า เป็นคดีที่มีอัตราโทษสูงและเกรงว่าผู้ต้องหาจะหลบหนี
ในคดีนี้คนที่น่าเห็นใจที่สุด ก็คือคนกลางที่เป็นแม่ของผู้ตาย และเป็นลูกสาวของผู้ต้องหา ได้นำยาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มาให้แม่ที่ศาล โดยบอกว่าความรู้สึกเหมือนตายทั้งเป็น ซึ่งแม่ของตนบอกว่ายอมรับผิดทุกอย่างและขอชดใช้กรรมในคุก
ซึ่งตนก็ได้จุดธูปบอกลูกชาย ว่าอย่าโกรธยาย สำหรับคดีที่แม่เคยต้องโทษในคดีฆ่าที่ สน. บางนา เมื่อปี 2536 ซึ่งแม่ได้ติดคุกอยู่ประมาณ 1 ปี และเมื่อตนเองอายุครบ 20 ปี ก็ได้ประกันตัวแม่ออกมา
พนักงานสอบสวน สน.พระโขนง ได้ควบคุมตัวยายไปขออำนาจศาลจังหวัดพระโขนงฝากขังในข้อหาฆ่าผู้อื่น พร้อมกับคัดค้านการประกันตัว โดยให้เหตุผลว่า เป็นคดีที่มีอัตราโทษสูงและเกรงว่าผู้ต้องหาจะหลบหนี
ในคดีนี้คนที่น่าเห็นใจที่สุด ก็คือคนกลางที่เป็นแม่ของผู้ตาย และเป็นลูกสาวของผู้ต้องหา ได้นำยาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มาให้แม่ที่ศาล โดยบอกว่าความรู้สึกเหมือนตายทั้งเป็น ซึ่งแม่ของตนบอกว่ายอมรับผิดทุกอย่างและขอชดใช้กรรมในคุก
ซึ่งตนก็ได้จุดธูปบอกลูกชาย ว่าอย่าโกรธยาย สำหรับคดีที่แม่เคยต้องโทษในคดีฆ่าที่ สน. บางนา เมื่อปี 2536 ซึ่งแม่ได้ติดคุกอยู่ประมาณ 1 ปี และเมื่อตนเองอายุครบ 20 ปี ก็ได้ประกันตัวแม่ออกมา
วันพฤหัสบดีที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
ข่าวหน้ารู้
นักเรียนกินไข่ต้มปนเชื้อแบททีเรีย
นักเรียนเชียงใหม่ที่กินไข่ต้มปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรียซาลโมเนลลา
1 ราย ต้องรักษาตัวในห้องไอซียู อาการยังน่าห่วง แพทย์ต้องดูแลใกล้ชิดตลอด
ส่วนรายอื่นๆ จะต้องมีเชื้ออยู่ในตัวนานกว่า 3 เดือน…
นพ.วัฒนา กาญจนกามล นพ.สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ แถลงความคืบหน้าเหตุนักเรียนโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ป่วยจากอาหารเป็นพิษ ว่า ล่าสุด ผลการสอบสวนออกมาแล้วว่า สาเหตุมาจากไข่ต้ม ที่แผงไข่ปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรียซาลโมเนลลา ที่เป็นชนิดรุนแรงและค่อนข้างดื้อยา และปกติตามแผงไข่ก็จะมีปนเปื้อนอยู่แล้ว 6 เปอร์เซ็นต์
ขณะนี้ ตัวเลขเด็กที่ป่วย มีกว่า 500 ราย แต่สามารถกลับบ้านได้แล้ว 367 คน รักษาตัวอยู่ที่ รพ. 9 แห่ง 127 ราย ในจำนวนนี้ มีอาการอาหารเป็นพิษและติดเชื้อรุนแรงในเลือด 1 ราย ต้องอยู่ในการดูแลของแพทย์อย่างใกล้ชิด ที่ห้องไอซียู
ขณะเดียวกัน ยังพบว่า เด็กที่ป่วยบางรายยังต้องกลับมาพบแพทย์อีกรอบ เนื่องจากเชื้อเหล่านี้จะยังติดตัวอยู่ประมาณ 3 เดือน แต่จะลดความรุนแรงลงภายใน 72 ชั่วโมง หลังจากรับเชื้อ คาดว่าภายใน 1-2 วันนี้ จะเข้าสู่ภาวะปกติและควบคุมโรคได้ และจากนี้ได้ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปจัดระบบสุขอนามัยตามโรงเรียนต่างๆ แล้ว เนื่องจากทราบว่า ที่ผ่านมายังดำเนินการได้ไม่ดีนัก
ส่วนไข่ต้มต้นเหตุ ที่ผู้บริจาคนำไปมอบให้สถานที่ต่างๆ อีกกว่า 10 แห่ง จำนวนกว่า 9,700 ฟองนั้น ทางแพทย์ได้ติดตามไปตรวจสอบและสั่งห้ามบริโภคแล้ว.
นพ.วัฒนา กาญจนกามล นพ.สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ แถลงความคืบหน้าเหตุนักเรียนโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ป่วยจากอาหารเป็นพิษ ว่า ล่าสุด ผลการสอบสวนออกมาแล้วว่า สาเหตุมาจากไข่ต้ม ที่แผงไข่ปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรียซาลโมเนลลา ที่เป็นชนิดรุนแรงและค่อนข้างดื้อยา และปกติตามแผงไข่ก็จะมีปนเปื้อนอยู่แล้ว 6 เปอร์เซ็นต์
ขณะนี้ ตัวเลขเด็กที่ป่วย มีกว่า 500 ราย แต่สามารถกลับบ้านได้แล้ว 367 คน รักษาตัวอยู่ที่ รพ. 9 แห่ง 127 ราย ในจำนวนนี้ มีอาการอาหารเป็นพิษและติดเชื้อรุนแรงในเลือด 1 ราย ต้องอยู่ในการดูแลของแพทย์อย่างใกล้ชิด ที่ห้องไอซียู
ขณะเดียวกัน ยังพบว่า เด็กที่ป่วยบางรายยังต้องกลับมาพบแพทย์อีกรอบ เนื่องจากเชื้อเหล่านี้จะยังติดตัวอยู่ประมาณ 3 เดือน แต่จะลดความรุนแรงลงภายใน 72 ชั่วโมง หลังจากรับเชื้อ คาดว่าภายใน 1-2 วันนี้ จะเข้าสู่ภาวะปกติและควบคุมโรคได้ และจากนี้ได้ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปจัดระบบสุขอนามัยตามโรงเรียนต่างๆ แล้ว เนื่องจากทราบว่า ที่ผ่านมายังดำเนินการได้ไม่ดีนัก
ส่วนไข่ต้มต้นเหตุ ที่ผู้บริจาคนำไปมอบให้สถานที่ต่างๆ อีกกว่า 10 แห่ง จำนวนกว่า 9,700 ฟองนั้น ทางแพทย์ได้ติดตามไปตรวจสอบและสั่งห้ามบริโภคแล้ว.
แหล่งอ้างอิง
http://www.thairath.co.th/content/region/275148
เข้าถึงเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2555
เทคโนโลยีเว็บ 2.0
เทคโนโลยีเว็บ 2.0 เรื่อง RSS
RSS
ปัจจุบันวิถีทางในการใช้อินเทอร์เน็ตของชาวไซเบอร์เปลี่ยนไปจากเมื่อ
2-3 ปีที่ผ่านมามากเมื่อก่อนเรารู้จักที่จะใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อส่งอีเมล์
คุยกับเพื่อนด้วยแชตรูม หรือใช้โปรแกรมคุยบางครั้งอาจมีการดาวน์โหลดโปรแกรมใหม่ การหาข้อมูล
การแลกเปลี่ยนความเห็นที่เว็บบอร์ดการอ่านข่าว ฯลฯ
ซึ่งสิ่งเหล่านี้คือการใช้งานหลักๆ ที่เราใช้งาน
ปัจจุบันเราใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อเขียนบล็อก
การแชร์รูป ร่วมเขียน Wiki การโพสต์ความเห็นลงในท้ายข่าว การหาแหล่งข้อมูลด้วย RSS เพื่อ Feed มาอ่านที่หน้าจอ
และGoogle จะเห็นได้ว่าวิธีการใช้ชีวิตบนอินเทอร์เน็ตของชาวออนไลน์เริ่มเปลี่ยนไปแล้ว
พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตดังกล่าวสะท้อนการเปลี่ยนแปลงได้เป็นอย่างดี
ซึ่งเป็นที่มาของเว็บ 2.0 หรือยุคใหม่ของ
อินเทอร์เน็ตที่ได้เปลี่ยนการใช้งานของเราไปอย่างสิ้นเชิง
เครื่องมือและเว็บไซต์ที่จะช่วยส่งเสริมความเป็น Web 2.0 ให้แก่เว็บไซต์ของเรา แม้ว่าเครื่องมือบางตัวจะไม่ถือว่าเป็น Web 2.0
แต่เครื่องมือต่างๆ เหล่านั้น ก็เป็นส่วนหนึ่งของเทคโนโลยี Web 2.0
เป็นส่วนช่วยทำให้เว็บไซต์ทำให้เว็บไซต์มีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้มากขึ้น
ส่งเสริมให้เกิดเป็นเครือข่ายสังคมออนไลน์ขึ้นมา
ปัจจุบัน RSS ถูกนำมาประยุกต์ใช้เป็นรูปแบบกลางในการบริหารข้อมูลทางธุรกิจ
และมีการแข่งขันกันสูง โดยเฉพาะธุรกิจที่มี การแชร์ข้อมูล เช่น เว็บไซต์ข่าว
เว็บล็อก ซึ่งจะมีการแสดงข้อมูลบนหน้าต่างพรีวิวแยกต่างหาก เพื่อให้ผู้ใช้ไม่สับสน
รวมถึง สามารถสืบค้นข้อมูลได้
RSS ย่อมาจาก Really Simple Syndication คือ บริการที่อยู่บนระบบ อินเตอร์เน็ท
จัดทำข้อมูลข่าวสารให้อยู่ในรูปแบบ XML เพื่ออำนวยความสะดวกให้ กับผู้ใช้
โดยส่งข่าวหรือข้อมูลใหม่ๆ ให้ถึงเครื่องตลอดเวลาที่มีการ Updateไม่ต้อง เสียเวลาเปิดเว็บไซต์เข้ามาค้นหา
ข้อดีของ RSS
RSS ช่วยลดข้อจำกัดในการคัดลอกข้อมูลในเว็บไซต์ โดยเฉพาะกรณีการละเมิด
ลิขสิทธิ์ขณะที่ผู้สร้างไม่ต้องเสียเวลาทำหน้าเพจแสดงข่าว ซึ่งต้องทำทุกครั้งเมื่อ
ต้องการเพิ่มข่าว โดย RSSจะดึงข่าวมาอัตโนมัติ
ทำให้ข้อมูลในเว็บไซต์เป็น ศูนย์กลางมากขึ้น
จุดเด่นของ RSS คือ ผู้ใช้จะไม่จำเป็นต้องเข้าไปตามเว็บไซต์ต่างๆ
เพื่อดูว่ามีข้อมูล อัพเดทใหม่หรือไม่
ขณะที่เว็บไซต์แต่ละแห่งอาจมีระยะความถี่ในการอัพเดท ไม่เท่ากัน
บางครั้งผู้ใช้ยังอาจหลงลืมจนเข้าไปดูเนื้อหาอัพเดทใหม่บนเว็บไซต์ ไม่ครบถ้วน
รูปแบบ RSS จะช่วยให้ผู้ใช้สามารถรับข่าวสารอัพเดทใหม่ได้
โดยไม่ต้องเข้าไปดูทุกครั้งให้เสียเวลา ซึ่งจะได้ประโยชน์ทั้งฝ่ายผู้บริโภคและ
ฝ่ายเจ้าของเว็บไซต์
อ้างอิง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)