การจําและการลืม
ปัจจุบันคณิตศาสตร์เป็นสิ่งสำคัญยิ่งต่อการเรียนการศึกษาและการดำเนินชีวิตประจำวัน
ซึ่งคณิตศาสตร์ถูกสอดแทรกไปกับสาขาวิชาต่างๆ เนื่องจากคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่สำคัญทำให้การเรียนการสอนคณิตศาสตร์จึงมุ้งเน้นให้ผู้เรียนนั้นได้รับความรู้ทางคณิตศาสตร์และมีความสามารถทางคณิตศาสตร์
แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นกับการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ก็มีอยู่มากมายหลายประการ เช่น
นักเรียนไม่ตั้งใจเรียน นักเรียนขาดพื้นฐาน ครูสอนอยากเกินไป เป็นต้น
ทำให้กิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ไม่เป็นไปตามที่คาดหวังไว้
ซึ่งปัญหาอีกปัญหาหนึ่งที่หลายคนมองข้ามไปคือ การจำการลืมของนักเรียน
นักเรียนแต่ละคนมีความจำที่ไม่เหมือนกันบางคนจำได้ดีแต่บางคนเรียนไปแล้วก็ลืม
การลืมทำให้เกิดปัญหาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ทำให้กิจกรรมไม่ต่อเนื่อง
ครูผู้สอนต้องค่อยทบทวนทำให้เกิดการเสียเวลา
การลืมของผู้เรียนก็จะทำให้ผู้เรียนกลายเป็นคนขาดพื้นฐาน
บทความนี้จึงขอนำความรู้เกี่ยวกับการจำการลืมมาให้ผู้สนใจได้ศึกษาต่อไป
ความหมายของการจำ
ความหมายของการจํามีผูที่ใหความหมายไวหลายทานด้วยกัน
ดังนี้
กมลรัตน์ หลาสุวงษ (2528) ใหความหมายการจําวา คือความสามารถสะสมประสบการณ ตางๆ
ที่ไดรับจากการเรียนรูทั้งทางตรงและทางออม แลวสามารถถายทอดออกมาในรูปของการระลึกได้
หรือจําได
มาลินี จุฑะรพ
(2537)
กลาววาการจํา
หมายถึงกระบวนการที่สมองเก็บสะสมสิ่งที่ไดเรียนรูไวและสามารถนําออกมาใชไดเมื่อถึงภาวะจําเป็น
ภาควิชาจิตวิทยาคณะมนุษยศาสตรมหาวิทยาลัยเชียงใหม (2540) กลาวว่าความจำ คือการที่คนเราสามารถบอกถึงเหตุการณที่ได้จากการเรียนรูแลวสามารถแสดงประสบการณดังกลาว
ออกมาในรูปของการระลึกไดหรือการแสดงออกทางพฤติกรรม
กิลฟอรด (Guilford,
1956 : 221) กลาววา ความจําเปน ความสามารถที่จะเก็บหนวยความรูไว
และสามารถระลึกไดหรือนําหนวยความรูนั้นออกมาใชไดในลักษณะเดียวกันกับที่เก็บเขาไว
ความสามารถดานความจําเปนความสามารถที่จําเปนในกิจกรรมทางสมองทุกแขนง
เทอรสโตน (Thurstone,
1958 : 121) กลาววา สมรรถภาพสมองดานความจําเปน สมรรถภาพดานการระลึกไดและจดจําเหตุการณหรือเรื่องราวตางๆ
ไดถูกตองแมนยํา
อดัมส (Adams, 1967 :
9) กลาววา ความจําเปนพฤติกรรมภายใน (Covert Behavior) ซึ่งเกิดขึ้นภายในจิตเชนเดียวกับความรูสึก การรับรู ความชอบ
จินตนาการและพฤติกรรมทางสมองดานอื่น ๆ ของมนุษย
ชวาล แพรัตกุล
(2514
: 65) กลาววา คุณลักษณะนี้ก็คือความสามารถของสมอง ในการบันทึกเรื่องราว
ตาง ๆ รวมทั้งที่มีสติระลึกจนสามารถถายทอดออกมาไดอยางถูกตอง
เชิดศักดิ์
โฆวาสินธุ (2525
: 121) กลาววา ความจํา หมายถึง ความสามารถในการเก็บรักษา บันทึกเรื่องราวตาง
ๆ ไวในสมองอยางถูกตองรวดเร็ว และ สามารถระลึกไดโดยสามารถถายทอดสิ่งที่จําไดออกมา
อเนก
เพียรอนุกุลบุตร (2527
: 138) กลาววา ความจําเปนความสามารถที่จะทรงไวซึ่งสิ่งที่รับรูไว
แลวระลึกออกมา อาจระลึกออกมาในรูปของรายละเอียด
ภาพ ชื่อ สิ่งของ วัตถุ ประโยค และแนวคิด ฯลฯ
ความจํามี 2 ชนิดใหญ ๆ คือ จําอยางมีความหมายและ จําอยางไมมีความหมาย
ชาญวิทย
เทียมบุญประเสริฐ (2528
: 163) กลาววา ความจําเปนสมรรถภาพใน การจําเรื่องราวตาง ๆ
เหตุการณ ภาพ สัญลักษณ รายละเอียด
สิ่งที่มีความหมายและสิ่งที่ไรความหมายและสามารถระลึกหรือถายทอดออกมาได
ไสว เลี่ยมแกว (2528 : 8) กลาววา ความจํา หมายถึง
ผลที่คงอยูในสมองหลัง จากสิ่งเราไดหายไปจากสนามสัมผัสแลว ผลที่คงอยูนี้จะอยูในรูปของรหัสใด
ๆ ที่เปนผลจาก การโยงสัมพันธ
สรุปไดวาการจํา คือกระบวนการที่สมองเก็บประสบการณ์ความรู้แล้วจำอย่างมีความหมายหรือจำอย่างไม่มีความหมาย
และสามารถระลึกออกมาในรูปแบบต่างๆ
ขบวนการและขั้นตอนของการจํา
นักจิตวิทยาได้ศึกษาคนควาเกี่ยวกับเรื่องของความจําและได้ใหขอสรุปกระบวนการของ
ระบบความจํามนุษย์ดังตอไปนี้
สิ่งเรา ® การรับขอมูล ® เก็บรักษาขอมูล® การระลึกได ®
การตอบสนอง
การรับขอมูล (Encoding) หมายถึงการที่ระบบประสาทสัมผัสรับสิ่งเราในรูปของขาวสารหรือขอมูลเขามา
การเก็บรักษาขอมูล
( Storage)
หมายถึงการเก็บรักษาขอมูลที่ไดรับมาไวใน
สมอง ซึ่งมักจะเก็บตามลักษณะของการรับสัมผัส เชนในแงของการมองเห็นรูปภาพ หรือการได้ยิน
เปนตน
การระลึกได (Recall) หมายถึงการเอาขอมูลที่เก็บไวมาใช
(มธุรส สวางบํารุง , 2542 )
สรุปไดวามนุษย์มีขั้นตอนในการจดจำเป็นกระบวนการโดยเริ่มจากการกระตุนใหเกิดความสนใจและอยากรับรูเป็นการรับขอมูลเขามาในกลไกของสมองเพื่อจัดเก็บและเมื่อถึงเวลาใน
อนาคต สามารถระลึกถึงหรือจดจําได้
ประเภทของการจํา
ในการศึกษาเรื่องของการจำของมนุษยลักษณะของการจำสามารถจำแนกออกเป็นในลักษณะตางๆ ดังที่ มาลินี จุฑะรพ (2537) แบงการจําออกเปน 4 ประเภทคือ
1.
การจําได (Recognition) ไดแกการจําสิ่งที่เรารับรูหรือเคยรูจักเมื่อเราไดพบอีกครั้งหนึ่ง เชน
การสามารถจําคุณครูที่เคยสอนเราได
2.
การระลึกได (Recall) ไดแกการจําในสิ่งที่เคยรับรูหรอเคยเรียนรูมากอนโดยมิตองพบเห็นสิ่งนั้นอีก เชน ปจจุบันเราสามารถท่องสูตรคูณ
หรือทองบทอาขยานที่เคยทองได้ในชั้นประถม โดยไมตองดูบทสูตรคูณหรือบทอาขยานนั้นๆ
เลย
3.
การเรียนใหม ( Relearning) ได้แก่การจำในสิ่งที่เคยรับรู้หรือเคยเรียนมากอนแตบัดนี้ลืมไปแลวเมื่อกลับมาเรียนใหมปรากฏวาเรียนไดรวดเร็วกวาหรือจําไดเร็วกว่าในอดีต เชน เคยทองสูตรคูณแม 12 ไดแตเมื่อลืม
แลวก็เริ่มทองใหมปรากฏวาใชเวลาในการทองนอยลงเป็นต้น
4.
การระลึกถึงเหตุการณในอดีต
(Reintegration)
ไดแกการจําเหตุการณที่เกี่ยวโยงกันในอดีตได เมื่อพบเห็นเหตุการณบางอยางที่เกี่ยวโยงกัน
เช่น เมื่อนักศึกษาเขาหองสอบในขณะที่ทํา ขอสอบไมไดทําใหตองใช้การจำประเภทนี้โดยอาจจะตองระลึกถึงเหตุการณ์ในอดีตวา
ในขณะที่ ฟงครูสอนเรื่องนั้น ครูได้ยกตัวอยางหรือครูไดอธิบายไววาอยางไรเป็นตน
ไสว เลี่ยมแกว (2528) ไดแบ่งประเภทของความจำไดดังตอไปนี้
1.
การระลึก (Recall) หมายถึงการบอกสิ่งที่เคยเรียนรูมาแล้วการระลึกแบงออกตาม สถานการณที่
เกี่ยวของได 3 แบบคือ
1.1
การระลึกเสรี (Free Recall) คือการบอกสิ่งที่เคยเห็นหรือเคยเรียนมาก่อนระลึกสิ่งใดได้ก็ตอบสิ่งนั้น ไมจําเป็นต้องเรียงลําดับก่อนหลัง
1.2
การระลึกตามลําดับ (Serial Recall) คือการตอบสิ่งที่เรียนมาจากลําดับแรก
จนกระทั่งลําดับสุดทาย
1.3
การระลึกตามตัวแนะ (Cue Recall) คือการบอกสิ่งที่เคยเห็นหรือเรียนรูมาโดยมีตัวชี้แนะ
เปนสิ่งเร้า
2.
การรูจักหรือจำได (Recognition) คือการบอกสิ่งตางๆ ไดเมื่อสิ่งที่เคยเรียนรูปรากฏขึ้นอีกครั้ง
3.
การเรียนซ้ำ (Relearning) เปนการจําไดที่เกิดจากการเรียนซ้ำในสิ่งที่ได้เรียนรูไปแลว
4.
ความคงทนในการจํา (Retention) หมายถึงความสามารถในการระลึกหรือเรียกสิ่งที่ได เรียนรูจําไดเมื่อเวลาผานไปแลวชวงหนึ่ง (Richards,
1987) ซึ่งในการเรียนการสอนภาษาความคงทนในการจำมักมีผูสนใจไดทําการศึกษาไมวาเป็นเสียงคําศัพทโครงสราง
หรือกฎเกณฑตางๆ
ซึ่งคุณภาพของความคงทนในการจําคําศัพทนี้ขึ้นอยูกับคุณภาพของการสอนประสิทธิภาพของคําศัพทและเนื้อหาตลอดจนกิจกรรมตางๆ รวมทั้งความสนใจของ
ผูเรียนเองดวย
จากแนวคิดที่เกี่ยวกับประเภทของความจําพอสรุปไดวาการจํานั้นมีหลายแบบแตกตางกัน ไดแกการระลึกเปนการเรียกใชความจําโดยไมตองมีสิ่งใดกระตุน การรูจักหรือจําไดเปนการเรียก
ความจําที่อาศัยสิ่งเราที่เกี่ยวของกับสิ่งที่เคยเรียนรูมากอน
การเรียนซ้ำเปนการเรียกความจําที่ตองมี การเรียนซ้ำสิ่งที่เคยเรียนและความคงทนในการจําเป็นการเรียกความจำมาใช้ได้หลังจากทิ้งชวงไปแลวในระยะเวลาหนึ่ง
ทฤษฏีเกี่ยวกับการลืม
1.
การเสื่อมลงไป นักจิตวิทยาที่สนับสนุนแนวคิดนี้เชื่อวาขอมูลที่เก็บไวในหนวยความจําจะเสื่อมลง
ไปทันทีที่เวลาผานไป ซึ่งโดยปกติคนเราจะลืมสิ่งที่เพิ่งไดทําผานไปทันทีเวนแตจะนึกถึงสิ่งนั้นบอยๆ
2.
การรบกวนกันของขอมูล ทฤษฏีนี้กลาววาการลืมเกิดขึ้นจากการที่มีขอมูลอื่นสอดแทรกเขามาใน
ระหวางที่เรากําลังจดจํา การรบกวนกันของขอมูลมีสองประเภทคือ proactive
interference และ retroactive interference (Bernstein. 1999
: 206) ซึ่ง proactive interference คือการที่ขอมูลเกาที่เคยเรียนรูมากอนหนา
นี้เขามารบกวนการเรียนรูขอมูลใหมที่กําลังเรียนรูสวน retroactive
interference คือการที่ขอมูลใหมยอนกลับ ไปรบกวนขอมูลเกาที่เคยเรียนรูมากอน
3.
ความลมเหลวในการกูกลับคืน คือการที่เราไมสามารถกูขอมูลที่บันทึกไวกลับคืนมาไดเนื่องจาก
ไมมีสิ่งกระตุนที่เหมาะสมที่จะทําใหเราสามารถกูขอมูลกลับคืนมาได
4.
แรงจูงใจที่จะลืม เปนแรงกระตุนจากภายในที่ผลักดันใหเราลืมสิ่งที่ไมพึงปรารถนาอันเนื่องมาจาก
มีการเก็บกดประสบการณและความนึกคิดที่ไมพึงปรารถนาใหอยูในระดับจิตไรสํานึก
ทฤษฎีเกี่ยวกับความสามารถดานความจํา
ในทางจิตวิทยา
ไดมีการกลาวถึงทฤษฎีเกี่ยวกับการจําและการลืมไวหลายทฤษฎี แตที่สําคัญสรุปไดมี
4
ทฤษฎี คือ
ทฤษฎีความจําสองกระบวนการ
(Two
– Process Theory of Memory) ทฤษฎีนี้สรางขึ้นโดย
แอตคินสัน และชิฟฟริน (Atkinson and
Shiffrin) ในป ค.ศ. 1968 กลาวถึงความจําระยะสั้นหรือความจําทันทีทันใดและความจําระยะยาววา
ความจําระยะสั้นเปน ความจําชั่วคราว สิ่งใดก็ตามถาอยูในความจําระยะสั้นจะตองไดรับการทบทวนอยูตลอดเวลามิฉะนั้นความจําสิ่งนั้นจะสลายตัวไปอยางรวดเร็ว
ในการทบทวนนั้นเราจะไมสามารถทบทวนทุก สิ่งที่เขามาอยูในระบบความจําระยะสั้น
ดังนั้นจํานวนที่เราจําไดในความจําระยะสั้นจึงมีจํากัด การทบทวนปองกันไมใหความจําสลายตัวไปจากความจําระยะสั้น
และถาสิ่งใดอยูในความจํา ระยะสั้นเปนระยะเวลายิ่งนาน สิ่งนั้นก็มีโอกาสฝงตัวในความจําระยะยาว
ถาเราจําสิ่งใดไดใน 11 ความจําระยะเวลายิ่งนาน สิ่งนั้นก็มีโอกาสฝงตัวในความจําระยะยาว
ถาเราจําสิ่งใดไวในความ จําระยะยาวสิ่งนั้นก็จะติดอยูในความทรงจําตลอดไป
(ชัยพร วิชชาวุธ, 2520 : 71)
ทฤษฎีการสลายตัว
(Decay
Theory) เปนทฤษฎีการลืม กลาววา การลืมเกิด ขึ้นเพราะการละเลยในการทบทวน
หรือไมนําสิ่งที่จะจําไวออกมาใชเปนประจํา การละเลยจะ ทําใหความจําคอย ๆ
สลายตัวไปเองในที่สุด ทฤษฎีการสลายตัวนี้นาจะเปนจริงในความจํา ระยะสั้น
เพราะในความจําระยะสั้นหากเรามิไดจดจอหรือสนใจทบทวนในสิ่งที่ตองการจะจํา เพียงชั่วครูสิ่งนั้นจะหายไปจากความทรงจําทันที
(Adams, 1967 : 23 - 25)
ทฤษฎีการรบกวน
(Interference
Theory) เปนทฤษฎีเกี่ยวกับการลืมที่ยอมรับ กันในปจจุบันทฤษฎีหนึ่ง
ทฤษฎีนี้ขัดแยงกับทฤษฎีการสลายตัว โดยกลาววาเวลาเพียงอยาง เดียวไมสามารถทําใหเกิดการลืมได
แตสิ่งที่เกิดในชวงดังกลาวจะเปนสิ่งคอยรบกวนสิ่งอื่น ๆ ในการจํา การรบกวนนี้ แยกออกเปน
2 แบบ คือ การตามรบกวน (Proactive Interference) หรือการรบกวนตามเวลา หมายถึง สิ่งเกา ๆ ที่เคยประสบมาแลวหรือจําไดอยูแลวมารบกวน
สิ่งที่จะจําใหม ทําใหจําสิ่งเราใหมไมคอยได อีกแบบของการรบกวนก็คือ การยอนรบกวน
(Retroactive Interference) หรือการรบกวนยอนเวลา หมายถึงการพยายามจําสิ่งใหมทําใหลืม
สิ่งเกาที่จําไดมากอน (Adams, 1980 : 299 - 307) จึงกลาวไดวา
ทฤษฎีการลืมนี้ เกิดขึ้นโดย ความรูใหมไปรบกวนความรูเกา ทําใหลืมความรูเกาและความรูเกาก็สามารถไปรบกวนความรู
ใหมไดดวย
ทฤษฎีการจัดกระบวนการตามระดับความลึก (Depth
– of – Processing Theory) ทฤษฎีนี้สรางขึ้นโดย เครก และลอกฮารท (Craik
and Lockhart) ในป 1972 ซึ่ง ขัดแยงกับความคิดของ
แอตคินสัน และชิฟฟริน ที่กลาววา ความจํามีโครงสรางและตัวแปร สําคัญของความจําในความจําระยะยาวก็คือ
ความยาวนานของเวลาที่ทบทวนสิ่งที่จะจําใน ความจําระยะสั้น แตเครก และลอกฮารท
มีความคิดวา ความจําไมมีโครงสรางและความจําที่ เพิ่มขึ้นไมไดเกิดขึ้นเพราะมีเวลาทบทวนในความจําระยะสั้นนาน
แตเกิดขึ้นเพราะความซับ ซอนของการเขารหัสที่ซับซอน หรือการโยงความสัมพันธของสิ่งที่ตองการจํา
ยอมอาศัยเวลา แตเวลาดังกลาวไมใชเพื่อการทบทวน
แตเพื่อการระลึกหรือซับซอนของการกระทํากับสารที่เขา
ไป (การเขารหัส) ถายิ่งลึก (ซับซอน) ก็จะยิ่งจําไดมาก
นั่นคือตองใชเวลามากดวย (ไสว เลี่ยม
แกว,
2528 : 20 - 23)
http://archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/teng0952ah_ch2.pdf
http://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6707/9/Chapter2.pdf
ระบบของความจํา
ความจําเป็นระบบการทํางานที่ตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา (Active
System)ในการรับ(Receives) เก็บ(Stores) จัดการ(Organizes) การเปลี่ยนแปลง(Alter) และนําข้อมูล ออกมา(Recovers) โดยการทํางานของความจํานี้จะคล้ายกับเครื่องคอมพิวเตอร์
คือ เริ่มจากการใส่รหัสข้อมูลเข้าไป จากนั้นจะเก็บข้อมูลไว้ในระบบเมื่อต้องการข้อมูลใดก็จะเรียกออกมาใช้เช่นเดียวกับเครื่องคอมพิวเตอร์
ความจําแบ่งออกเป็น 3 ระบบ ดังนี้
1.ความจําจากการรับสัมผัส ( Sensory Memory) เป็นความจําที่เกิดจากประสาทรับสัมผัส คือ หู ตา จมูก ลิ้น และกาย
โดยการจําแบบนี้เป็นระบบการจําขั้นแรกที่จะเก็บข้อมูลในลักษณะถอดแบบสิ่งที่ได้เห็นหรือ
ได้ยินทุกอย่างเอาไว้ในช่วงสั้นๆ เพื่อถ่ายทอดข้อมูลต่อไป ยังระบบการจําอื่นๆ เช่น
ถ้าได้เห็นข้อมูล ภาพติดตา (Icon) หรือจินตภาพจะคงอยู่ได้ครึ่งวินาที( 1/2 วินาที) แต่ถ้าเกิดจากการได้ยินเสียงก้องหู(Echo) ของสิ่งที่ได้ยิน จะคงอยู่ประมาณ 2 วินาที
ฯลฯ ทั้งนี้ หากไม่มีการส่งต่อ ข้อมูลสิ่งที่จําได้จะหายไปอย่างรวดเร็ว
2.ความจําระยะสั้น(Short –Term Memory :STM) ทําหน้าที่คล้ายคลังข้อมูล
ชั่วคราวที่เก็บข้อมูลได้ในจํานวนจํากัด(สามารถจําได้ประมาณ 7 ตัว เรียกว่า มีความจําระยะสั้นในระดับเฉลี่ย)
โดยในระยะแรกจะเก็บข้อมูลในลักษณะจินตภาพ แต่บ่อยครั้งมักจะเก็บ
ข้อมูลในลักษณะของเสียง ซึ่งความจําระยะสั้นนี้
จะช่วยป้องกันไม่ให้เราสับสนเกี่ยวกับชื่อ วันที่ หมายเลขโทรศัพท์
และเรื่องเล็กๆน้อยๆ นอกจากนั้นยังเป็นความจําในส่วนปฏิบัติงานเรียกว่า Working
Memory ซึ่งช่วยในการคิดของเราเป็นอย่างมากอีกด้วย
นักจิตวิทยาชื่อ จอร์จ มิลเลอร์ (George Miller)ได้แสดงให้เห็นว่า
ความจําระยะ สั้นสามารถจําข้อมูลได้ 7+2 หน่วย
ถ้ามีข้อมูลที่ต้องจํามากกว่า 7 ตัว ความผิดพลาดจะ
เกิดขึ้น ถ้ามีข้อมูลใหม่มาเพิ่มนอกเหนือจาก 7 ตัวเดิม
จะทําให้ข้อมูลใหม่และเก่าบางข้อมูล หายไปได้ และยังพบอีกว่า
ปัจจัยที่ให้เราสามารถจําได้นานขึ้ นนั้นคือ การจดบันทึก (Recording)และการทบทวน ( Rehearsal) ความจําระยะสั้นนี้
อาจจะถูกรบกวนหรือถูก 3 แทรกได้ง่าย
ซึ่งถ้าไม่มีการทบทวนจะอยู่ได้เพียง 18 วินาที
และจะมีข้อมูลใหม่เข้ามาแทนที่ ข้อมูลเก่า
3.ความจําระยะยาว(Long-Term Memory : LTM) ทําหน้าที่เหมือนคลังข้อมูล
ถาวรซึ่งบรรจุทุกอย่างที่เรารู้เกี่ยวกับโลกเอาไว้
เป็นระบบที่สามารถเก็บข้อมูลความจําได้เนิ่นนานและไม่จํากัดโดยจะเก็บข้อมูลไว้บนพื้นฐานของความหมายและความสําคัญของข้อมูล
ความจําระยะยาว มี 2 ประเภท คือ 1)การจําความหมาย (Semantic Memory)เป็นการจําความรู้พื้นฐานที่เป็
น ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับโลกเอาไว้ ซึ่งเกือบจะไม่ลืมเลย เช่น ชื่อเดือน ชื่อวัน
ภาษา และทักษะการ คํานวณง่ายๆ ฯลฯ โดยจะไม่เกี่ยวข้องกับเวลาและสถานที่
จึงเปรียบเสมือนพจนานุกรมทาง จิต หรือสารานุกรมเกี่ยวกับความรู้พื้นฐาน 2)การจําเหตุการณ์(Episodic Memory) เป็นการจําเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตตนเอง
จะเป็นการบันทึกเหตุการณ์ในชีวิตวันต่อวัน ปี ต่อปี เช่น
การจําสถานที่ท่องเที่ยวได้อย่างแม่นยํา ฯลฯ ซึ่งการจําเหตุการณ์นี้
จะลืมง่ายกว่าการจําความหมาย เพราะมีเหตุการณ์ใหม่ๆ เข้ามาในชีวิตเราอยู่ตลอดเวลา
การสร้างความจํา (Constructing
Memory) คือ การที่ข้อมูลหรือเหตุการณ์ใหม่ๆ
เข้าไปในความจําระยะยาว แล้วจะทําให้ความจํา เก่าๆเปลี่ยนแปลง สูญหาย หรือมีการปรับปรุงใหม่
ซึ่งถือว่า เป็นการสร้างความจําขึ้นมา เช่น การ
ทดลองที่ให้คนกลุ่มหนึ่งดูภาพรถชนกัน โดยใช้คํา อื่นๆแทนคําว่า ชนกัน เช่น
ประสานงา กระแทก ปะทะกัน ฯลฯ ปรากฏว่า ความจําของคนเหล่านั้น
ถูกแทรกด้วยข้อมูลใหม่ จนทําให้เกิด การจําผิดๆ (Pseudo Memory)ขึ้นมาได้ แต่พวกเขาก็เชื่อว่าจําได้อย่างถูกต้องแล้ว
การจัดการ (Organization) นั่นคือ ความจําระยะยาวและการจําความหมายมักจะมี
การจัดการข้อมูลในระดับสูง โดยการจัดการข้อมูลในความจําระยะยาวนั้นไม่ได้เรียงตาม
ตัวอักษร แต่มักจัดตามกฎเกณฑ์ จินตภาพ ประเภท สัญลักษณ์ ความคล้าย หรือความหมาย
ทั้งนี้ การจัดการข้อมูลจะอยู่ใน แบบเครือข่าย (Network Model)ของความคิด โดยสิ่งที่ เชื่อมโยงกันในเครือข่ายที่ใกล้กว่า
จะทําให้สรุปคําตอบได้เร็วกว่า เช่น การที่เราตอบคําถาม ว่า “คีรีบูนเป็นนกใช่หรือไม่” ได้เร็วกว่าการตอบคําถามว่า “คีรีบูนเป็นสัตว์ใช่หรือไม่” ฯลฯ นอกจากนี้
ความจําของเรายังจัดการข้อมูลให้อยู่ลักษณะการสรุปแบบโครงร่าง หรือ
โครงร่างของเหตุการณ์ในชีวิตประจําวันที่เรียกว่า สคริปต์(Script) ซึ่งช่วยให้เราเข้าใจและจํา เหตุการณ์ได้ง่ายขึ้ น
ดังนั้นวิธีการรักษาความทรงจําให้คงอยู่ได้ ก็คือ การจําในสิ่งที่มีความหมาย
การจําเหตุการณ์ที่เกิดขึ้ นในชีวิตประจําวัน การสร้างความจําขึ้นใหม่
และมีการบริหารจัดการข้อมูล ฯลฯ โดยปกติแล้วความจําที่เราใช้อยู่ทุกวันนี้ เป็
นการทํางานควบคู่กันของ STM และ LTM ซึ่งเรียกว่า ความจําคู่ (Dual Memory) 6การวัดความจํา 5 ความจําของคนเรานั้นไม่ได้อยู่ในลักษณะจําได้ทั้งหมด หรือจําไม่ได้เลย ( All
or Nothing Event) เราอาจจําได้บางส่วน เช่น
จําคําที่ต้องการไม่ได้ แต่จําตัวอักษรตัวต้นและตัว ท้ายได้ หรืออาจจําความหมายได้
แต่นึกคําไม่ออกเพราะติดอยู่ที่ริมฝีปาก เป็นต้น วิธีวัดความจํา มี 4 แบบ
1.การระลึกได้ (Recall) หมายถึง การถอดแบบข้อมูลหรือข้อเท็จจริง โดยวิธีที่ใช้ทดสอบการ
ระลึกได้นี้ คือ การให้จําทุกตัวอักษร (คําต่อคํา) เช่น ท่องอาขยาน
โดยไม่มีสิ่งใดมาช่วย กระตุ้นความจํา และผลการทดสอบพบว่า เราสามารถจําคําสุดท้ายได้ดีที่สุด
เพราะยังอยู่ใน ความจําระยะสั้น ส่วนคําต้นๆก็ยังจําได้อยู่
เพราะอยู่ในความจําระยะสั้นที่สามารถทบทวนได้
แต่คําในช่วงกลางนั้นไม่ได้อยู่ทั้งในความจําระยะสั้นและความจําระยะยาว
ดังนั้นจึงมักจะ เลือนหายไป
2.การจําได้ (Recognition) เป็นการวัดความจําโดยมีสื่อกระตุ้นหรือชี้ แนะให้จําได้ เช่น
ข้อสอบแบบเลือกตอบ (แบบปรนัย) เห็นร่มก็จําได้ว่า เป็นของตนที่เคยทําหาย
หรือการนึก ชื่อเพื่อนสมัย ป.6 ไม่ออก
แต่เมื่อนํารูปมาดูก็อาจจะนึกออก เป็นต้น ซึ่งการจําได้นี้ สามารถ
วัดความจําได้ดีกว่าการระลึกได้ ตํารวจจึงนิยมให้พยานชี้
ตัวผู้ต้องสงสัยจากภาพถ่าย หรือ การสเก็ตซ์ภาพให้พยานดู
3.การเรียนซํ้า (Relearning)เป็นการวัดความจําในสิ่งที่เราเคยเรียนรู้มาแล้ว
แต่ไม่อาจระลึกหรือจําได้ แต่เมื่อเรียนซํ้าอีกก็ปรากฏว่า
เราเรียนได้เร็วขึ้นและใช้เวลาเรียนน้อยว่าเดิม 6 เพราะเคยมีคะแนนสะสม(Saving
Score)ไว้แล้ว เช่น เคยใช้เวลาเรียน 1 ชั่วโมงก็จําได้ แต่ หลังจากนั้น 2 ปี
ก็จําไม่ได้แล้วแต่เมื่อให้เรียนซํ้า ใช้เวลาเรียนเพียง 45 นาที ก็สามารถจําได้ ฯลฯ
4.การบูรณาการใหม่ (Reintegration) หมายถึง การที่ความจําหนึ่งจะไปกระตุ้นให้เกิด ความจําอื่นๆตามมา
เรียกได้ว่า ประสบการณ์ในอดีตทั้งหมดถูกสร้างขึ้นมาใหม่จากสิ่งที่
สะสมไว้แม้เพียงสิ่งเดียว เช่น
ไปพบภาพเมื่อครั้งไปเที่ยวเชียงใหม่เข้าก็กระตุ้นให้นึกถึงภาพ
การเดินทางและความสนุกสนานที่เกิดขึ้นบนรถไฟ
นึกถึงความเหนื่อยล้าเมื่อเดินขึ้นดอยสุ เทพ
นึกถึงกลิ่นกุหลาบที่ภูพิงค์ราชนิเวศน์ และอื่นๆต่อไป ฯลฯ
การลืม
การลืม (Forgetting) การลืมส่วนใหญ่เกิดขึ้นทันทีภายหลังการจํา โดย เฮอร์แมน เอบบิงเฮาส์(Herman
Ebbinghaus) ได้ทําการทดสอบความจําหลังการเรียนรู้คําที่ไม่มีความหมายในช่วงเวลาที่
ต่างๆกัน ซึ่งเขาพบว่า การลืมจะมีมากในช่วงแรก และน้อยลงในช่วงหลังๆ กล่าวคือ
เราจะจํา ได้ 100% ในช่วงเริ่มต้น เมื่อเวลาผ่านไป 20 นาที ความจําจะเหลือ 60%, 1 ชั่วโมงผ่าน
ไปจะจําได้ 50%, 9 ชั่วโมงผ่านไปจะจําได้ 40%, และภายใน 1 วัน ความจําจะเหลือ ประมาณ 30% สาเหตุของการลืม มีดังนี้
1. การไม่ได้ลงรหัส (Encoding
Failure) หมายถึง
ไม่ได้มีการป้อนข้อมูลเข้าไปในความทรงจำตั้งแต่แรก
2. การเสื่อมสลาย (Decay)หมายถึง การ
เสื่อมสลายของรอยความจําตามกาลเวลาที่เกิดขึ้น
ในความจําจากการรับสัมผัสและความจําระยะสั้น นั่นคือ ข้อมูลเก่าจะเลือนหายไปและถูกแทนที่ด้วยข้อมูลที่ใหม่กว่า
ส่วนสาเหตุที่ทําให้ข้อมูลที่เก็บในคลังข้อมูลของระบบความจําระยะยาวเสื่อมสลาย คือ
การไม่ได้ใช้ (Disuse)
3.การลืมเพราะขึ้นอยู่กับสิ่งชี้แนะ(Cue-Dependent Forgetting) หมายถึง การที่เรา มีความจําเกี่ยวกับบางสิ่งบางอย่างแต่ไม่สามารถนําความจํานั้นออกมาใช้ได้
จนบ่อยครั้งที่ เรามักจะพูดว่า “ติดอยู่ที่ริมฝีปาก”
4.การรบกวน (Interfere) หมายถึง
การเรียนรู้ใหม่มารบกวน(ความจําของ)การเรียนรู้ เดิมทําให้เกิดการลืม
โดยเกิดขึ้นได้ทั้งในความจําระยะสั้นและความจําระยะยาว ซึ่งการ รบกวนนี้ มักจะเป็นสาเหตุสําคัญของการลืม
โดยแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ 1)Retroactive
Inhibition คือ
การเรียนรู้ใหม่ไปรบกวนการเรียนรู้เดิมทําให้ลืม สิ่งที่เคยเรียนรู้มาก่อนหน้านี้ 2)Proactive
Inhibition คือ
สิ่งที่เรียนรู้เดิมรบกวนสิ่งที่เรียนรู้ใหม่ทำให้จําสิ่งที่เรียนรู้ใหม่ไม่ได้
5.การเก็บกด (Repression) หมายถึง
การลืมความจําที่เจ็บปวด น่าอาย ผิดหวัง ไม่ พอใจ หรือไม่ชอบ ซึ่งสิ่งเหล่านี้
จะถูกเก็บกดอยู่ในจิตใต้สํานึก เช่น ลืมความล้มเหลวในอดีต ลืมเหตุการณ์อันเลวร้าย
ลืมชื่อบุคคลที่ไม่ชอบ ลืมการนัดหมายที่ไม่ต้องการไป ฯลฯ ซึ่ง แตกต่างจากการระงับ(Suppression) ที่หมายถึง การหลีกเลี่ยงที่จะไม่คิดถึงบางสิ่งบางอย่าง 8 เช่น หลีกเลี่ยงที่จะไม่คิดถึงการสอบในสัปดาห์หน้า
โดยเป็นสภาวะที่จิตใจเกิดความขัดแย้ง แต่เป็นสิ่งที่เรารู้ตัว
เพราะเป็นการกระทําในระดับจิตสํานึก
จากข้างต้นสามารถสรุปได้ว่าคนเรานั้นเมื่อรับรู้อะไรก็ตามหากเวลาผ่านไปก็จะลืมไปทีละครึ่งทีละครึ่งจนลืมสนิท
ในการเรียนของเรานั้นก็เช่นกันหากต้องการที่จะจำได้นั้นก็ต้องฝึกและทบทวนอย่างสม่ำเสมอเพื่อป้องกันการลืม
อ้างอิง
http://www.educ-bkkthon.com/blog/apsornsiri/wp-content/uploads/2014/4.pdf
ความจํา
เป็นระบบการทํางานที่ตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา (Active System) ในการรับ(Receives)
เก็บ(Stores) จัดการ(Organizes) การเปลี่ยนแปลง(Alter) และนําข้อมูล ออกมา(Recovers)
โดยการทํางานของความจํานี้ จะคล้าย กับเครื่องคอมพิวเตอร์ คือ
เริ่มจากการใส่รหัสข้อมูลเข้าไป จากนั้นจะเก็บข้อมูลไว้ในระบบ
เมื่อต้องการข้อมูลใดก็จะ เรียกออกมาใช้เช่นเดียวกับเครื่องคอมพิวเตอร์
ความจํา
แบ่งออกเป็น 3
ระบบ ดังนี้
1.ความจําจากการรับสัมผัส ( Sensory
Memory) เป็นความจําที่เกิดจากประสาทรับสัมผัส คือ หู ตา จมูก ลิ้น
และกาย โดยการจําแบบนี้ เป็นระบบการจํา ขั้นแรกที่จะเก็บข้อมูลในลักษณะถอดแบบสิ่งที่ได้เห็นหรือ
ได้ยินทุกอย่างเอาไว้ในช่วงสั้นๆ เพื่อถ่ายทอดข้อมูลต่อไป ยังระบบการจําอื่นๆ เช่น
ถ้าได้เห็นข้อมูล ภาพติดตา (Icon) หรือจินตภาพจะคงอยู่ได้ครึ่งวินาที(
1/2 วินาที) แต่ถ้าเกิดจากการได้ยินเสียงก้องหู(Echo)
ของสิ่งที่ได้ยิน จะคงอยู่ประมาณ 2 วินาที ฯลฯ
ทั้งนี้ หากไม่มีการส่งต่อ ข้อมูลสิ่งที่จําได้จะหายไปอย่างรวดเร็ว
2.ความจําระยะสั้น (Short –Term Memory :STM) ทําหน้าที่คล้ายคลังข้อมูล ชั่วคราวที่เก็บข้อมูลได้ในจํานวนจํากัด(สามารถจําได้ประมาณ
7 ตัว เรียกว่า มีความจําระยะ สั้นในระดับเฉลี่ย)
โดยในระยะแรกจะเก็บข้อมูลในลักษณะจินตภาพ แต่บ่อยครั้งมักจะเก็บ ข้อมูลในลักษณะของเสียง
ซึ่งความจําระยะสั้นนี้ จะช่วยป้องกันไม่ให้เราสับสนเกี่ยวกับชื่อ วันที่
หมายเลขโทรศัพท์ และเรื่องเล็กๆน้อยๆ นอกจากนั้นยังเป็น ความจําในส่วน ปฏิบัติงานเรียกว่า
Working Memory ซึ่งช่วยในการคิดของเราเป็นอย่างมากอีกด้วย นักจิตวิทยาชื่อ
จอร์จมิลเลอร์ (George Miller)ได้แสดงให้เห็นว่า ความจําระยะ
สั้นสามารถจําข้อมูลได้ 7+2 หน่วย
ถ้ามีข้อมูลที่ต้องจํามากกว่า 7 ตัว ความผิดพลาดจะ เกิดขึ้น ถ้ามีข้อมูลใหม่มาเพิ่มนอกเหนือจาก
7 ตัวเดิม จะทําให้ข้อมูลใหม่และเก่าบางข้อมูล หายไปได้
และยังพบอีกว่า ปัจจัยที่ให้เราสามารถจําได้นานขึ้นนั้นคือ การจดบันทึก
(Recording)และการทบทวน ( Rehearsal) ความจําระยะสั้นนี้
อาจจะถูกรบกวนหรือถูก 3 แทรกได้ง่าย ซึ่งถ้าไม่มีการทบทวนจะอยู่ได้เพียง
18 วินาที และจะมีข้อมูลใหม่เข้ามาแทนที่ ข้อมูลเก่า
3.ความจําระยะยาว (Long-Term Memory : LTM) ทําหน้าที่เหมือนคลังข้อมูล ถาวรซึ่งบรรจุทุกอย่างที่เรารู้เกี่ยวกับโลกเอาไว้
เป็นระบบที่สามารถเก็บข้อมูลความจําได้เนิ่น นานและไม่จํากัด โดยจะเก็บข้อมูลไว้บนพื้
นฐานของความหมายและความสําคัญของข้อมูล
ความจําระยะยาว มี 2 ประเภท คือ
1)การจําความหมาย (Semantic Memory) เป็นการจําความรู้พื้นฐานที่เป็น
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับโลกเอาไว้ ซึ่งเกือบจะไม่ลืมเลย เช่น ชื่อเดือน ชื่อวัน ภาษา
และทักษะการ คํานวณง่ายๆ ฯลฯ โดยจะไม่เกี่ยวข้องกับเวลาและสถานที่
จึงเปรียบเสมือนพจนานุกรมทาง จิต หรือสารานุกรมเกี่ยวกับความรู้พื้ นฐาน
2)การจําเหตุการณ์(Episodic Memory) เป็นการจําเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตตนเอง
จะเป็นการบันทึกเหตุการณ์ในชีวิตวันต่อวัน ปี ต่อปี เช่น การจําสถานที่ท่องเที่ยวได้อย่าง
แม่นยํา ฯลฯ ซึ่งการจําเหตุการณ์นี้ จะลืมง่ายกว่าการจําความหมาย
เพราะมีเหตุการณ์ใหม่ๆ เข้ามาในชีวิตเราอยู่ตลอดเวลา
การสร้างความจํา (Constructing
Memory) คือ การที่ข้อมูลหรือเหตุการณ์ใหม่ๆ เข้าไปในความจําระยะยาว
แล้วจะทําให้ความจํา เก่าๆเปลี่ยนแปลง สูญหาย หรือมีการปรับปรุงใหม่ ซึ่งถือว่า
เป็นการสร้างความจําขึ้ นมา เช่น การ ทดลองที่ให้คนกลุ่มหนึ่งดูภาพรถชนกัน
โดยใช้คํา อื่นๆแทนคําว่า ชนกัน เช่น ประสานงา กระแทก ปะทะกัน ฯลฯ ปรากฏว่า
ความจําของคนเหล่านั้น ถูกแทรกด้วยข้อมูลใหม่ จนทําให้เกิด การจําผิดๆ
(Pseudo Memory)ขึ้ นมาได้ แต่พวกเขาก็เชื่อว่า
จําได้อย่างถูกต้องแล้ว 4
การจัดการ (Organization)
นั่นคือ
ความจําระยะยาวและการจําความหมายมักจะมีการจัดการข้อมูลในระดับสูง
โดยการจัดการข้อมูลในความจําระยะยาวนั้นไม่ได้เรียงตาม ตัวอักษร แต่มักจัดตามกฎเกณฑ์
จินตภาพ ประเภท สัญลักษณ์ ความคล้าย หรือความหมาย ทั้งนี้ การจัดการข้อมูลจะอยู่ใน
แบบเครือข่าย (Network Model)ของความคิด โดยสิ่งที่ เชื่อมโยงกันในเครือข่ายที่ใกล้กว่า
จะทําให้สรุปคําตอบได้เร็วกว่า เช่น การที่เราตอบคําถาม ว่า “คีรีบูนเป็นนกใช่หรือไม่” ได้เร็วกว่าการตอบคําถามว่า
“คีรีบูนเป็นสัตว์ใช่หรือไม่” ฯลฯ นอกจากนี้
ความจําของเรายังจัดการข้อมูลให้อยู่ลักษณะการสรุปแบบโครงร่าง หรือ โครงร่างของเหตุการณ์ในชีวิตประจําวันที่เรียกว่า
สคริปต์(Script) ซึ่งช่วยให้เราเข้าใจและจําเหตุการณ์ได้ง่ายขึ้น
ดังนั้นวิธีการรักษาความทรงจําให้คงอยู่ได้ ก็คือ การจําในสิ่งที่มีความหมาย
การจําเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน การสร้างความจําขึ้นใหม่
และมีการบริหารจัดการข้อมูล ฯลฯ โดยปกติแล้วความจําที่เราใช้อยู่ทุกวันนี้ เป็นการทํางานควบคู่กันของ
STM และ LTM ซึ่งเรียกว่า ความจําคู่ (Dual
Memory)
http://archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/teng0952ah_ch2.pdf
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น