ความหมายของการจำ
ความหมายของการจํามีผูที่ใหความหมายไวหลายทานด้วยกัน
ดังนี้
กมลรัตน์ หลาสุวงษ (2528) ใหความหมายการจําวา คือความสามารถสะสมประสบการณ ตางๆ
ที่ไดรับจากการเรียนรูทั้งทางตรงและทางออม แลวสามารถถายทอดออกมาในรูปของการระลึกได้
หรือจําได
มาลินี จุฑะรพ
(2537)
กลาววาการจํา
หมายถึงกระบวนการที่สมองเก็บสะสมสิ่งที่ไดเรียนรูไวและสามารถนําออกมาใชไดเมื่อถึงภาวะจําเป็น
ภาควิชาจิตวิทยาคณะมนุษยศาสตรมหาวิทยาลัยเชียงใหม (2540) กลาวว่าความจำ คือการที่คนเราสามารถบอกถึงเหตุการณที่ได้จากการเรียนรูแลวสามารถแสดงประสบการณดังกลาว
ออกมาในรูปของการระลึกไดหรือการแสดงออกทางพฤติกรรม
กิลฟอรด (Guilford,
1956 : 221) กลาววา ความจําเปน ความสามารถที่จะเก็บหนวยความรูไว
และสามารถระลึกไดหรือนําหนวยความรูนั้นออกมาใชไดในลักษณะเดียวกันกับที่เก็บเขาไว
ความสามารถดานความจําเปนความสามารถที่จําเปนในกิจกรรมทางสมองทุกแขนง
เทอรสโตน (Thurstone,
1958 : 121) กลาววา สมรรถภาพสมองดานความจําเปน สมรรถภาพดานการระลึกไดและจดจําเหตุการณหรือเรื่องราวตางๆ
ไดถูกตองแมนยํา
อดัมส (Adams, 1967 :
9) กลาววา ความจําเปนพฤติกรรมภายใน (Covert Behavior) ซึ่งเกิดขึ้นภายในจิตเชนเดียวกับความรูสึก การรับรู ความชอบ
จินตนาการและพฤติกรรมทางสมองดานอื่น ๆ ของมนุษย
ชวาล แพรัตกุล
(2514
: 65) กลาววา คุณลักษณะนี้ก็คือความสามารถของสมอง ในการบันทึกเรื่องราว
ตาง ๆ รวมทั้งที่มีสติระลึกจนสามารถถายทอดออกมาไดอยางถูกตอง
เชิดศักดิ์
โฆวาสินธุ (2525
: 121) กลาววา ความจํา หมายถึง ความสามารถในการเก็บรักษา บันทึกเรื่องราวตาง
ๆ ไวในสมองอยางถูกตองรวดเร็ว และ สามารถระลึกไดโดยสามารถถายทอดสิ่งที่จําไดออกมา
อเนก
เพียรอนุกุลบุตร (2527
: 138) กลาววา ความจําเปนความสามารถที่จะทรงไวซึ่งสิ่งที่รับรูไว
แลวระลึกออกมา อาจระลึกออกมาในรูปของรายละเอียด
ภาพ ชื่อ สิ่งของ วัตถุ ประโยค และแนวคิด ฯลฯ
ความจํามี 2 ชนิดใหญ ๆ คือ จําอยางมีความหมายและ จําอยางไมมีความหมาย
ชาญวิทย
เทียมบุญประเสริฐ (2528
: 163) กลาววา ความจําเปนสมรรถภาพใน การจําเรื่องราวตาง ๆ
เหตุการณ ภาพ สัญลักษณ รายละเอียด
สิ่งที่มีความหมายและสิ่งที่ไรความหมายและสามารถระลึกหรือถายทอดออกมาได
ไสว เลี่ยมแกว (2528 : 8) กลาววา ความจํา หมายถึง
ผลที่คงอยูในสมองหลัง จากสิ่งเราไดหายไปจากสนามสัมผัสแลว ผลที่คงอยูนี้จะอยูในรูปของรหัสใด
ๆ ที่เปนผลจาก การโยงสัมพันธ
สรุปไดวาการจํา คือกระบวนการที่สมองเก็บประสบการณ์ความรู้แล้วจำอย่างมีความหมายหรือจำอย่างไม่มีความหมาย
และสามารถระลึกออกมาในรูปแบบต่างๆ
ขบวนการและขั้นตอนของการจํา
นักจิตวิทยาได้ศึกษาคนควาเกี่ยวกับเรื่องของความจําและได้ใหขอสรุปกระบวนการของ
ระบบความจํามนุษย์ดังตอไปนี้
สิ่งเรา ® การรับขอมูล ® เก็บรักษาขอมูล® การระลึกได ®
การตอบสนอง
การรับขอมูล (Encoding) หมายถึงการที่ระบบประสาทสัมผัสรับสิ่งเราในรูปของขาวสารหรือขอมูลเขามา
การเก็บรักษาขอมูล
( Storage)
หมายถึงการเก็บรักษาขอมูลที่ไดรับมาไวใน
สมอง ซึ่งมักจะเก็บตามลักษณะของการรับสัมผัส เชนในแงของการมองเห็นรูปภาพ หรือการได้ยิน
เปนตน
การระลึกได (Recall) หมายถึงการเอาขอมูลที่เก็บไวมาใช
(มธุรส สวางบํารุง , 2542 )
สรุปไดวามนุษย์มีขั้นตอนในการจดจำเป็นกระบวนการโดยเริ่มจากการกระตุนใหเกิดความสนใจและอยากรับรูเป็นการรับขอมูลเขามาในกลไกของสมองเพื่อจัดเก็บและเมื่อถึงเวลาใน
อนาคต สามารถระลึกถึงหรือจดจําได้
ประเภทของการจํา
ในการศึกษาเรื่องของการจำของมนุษยลักษณะของการจำสามารถจำแนกออกเป็นในลักษณะตางๆ ดังที่ มาลินี จุฑะรพ (2537) แบงการจําออกเปน 4 ประเภทคือ
1.
การจําได (Recognition) ไดแกการจําสิ่งที่เรารับรูหรือเคยรูจักเมื่อเราไดพบอีกครั้งหนึ่ง เชน
การสามารถจําคุณครูที่เคยสอนเราได
2.
การระลึกได (Recall) ไดแกการจําในสิ่งที่เคยรับรูหรอเคยเรียนรูมากอนโดยมิตองพบเห็นสิ่งนั้นอีก เชน ปจจุบันเราสามารถท่องสูตรคูณ
หรือทองบทอาขยานที่เคยทองได้ในชั้นประถม โดยไมตองดูบทสูตรคูณหรือบทอาขยานนั้นๆ
เลย
3.
การเรียนใหม ( Relearning) ได้แก่การจำในสิ่งที่เคยรับรู้หรือเคยเรียนมากอนแตบัดนี้ลืมไปแลวเมื่อกลับมาเรียนใหมปรากฏวาเรียนไดรวดเร็วกวาหรือจําไดเร็วกว่าในอดีต เชน เคยทองสูตรคูณแม 12 ไดแตเมื่อลืม
แลวก็เริ่มทองใหมปรากฏวาใชเวลาในการทองนอยลงเป็นต้น
4.
การระลึกถึงเหตุการณในอดีต
(Reintegration)
ไดแกการจําเหตุการณที่เกี่ยวโยงกันในอดีตได เมื่อพบเห็นเหตุการณบางอยางที่เกี่ยวโยงกัน
เช่น เมื่อนักศึกษาเขาหองสอบในขณะที่ทํา ขอสอบไมไดทําใหตองใช้การจำประเภทนี้โดยอาจจะตองระลึกถึงเหตุการณ์ในอดีตวา
ในขณะที่ ฟงครูสอนเรื่องนั้น ครูได้ยกตัวอยางหรือครูไดอธิบายไววาอยางไรเป็นตน
ไสว เลี่ยมแกว (2528) ไดแบ่งประเภทของความจำไดดังตอไปนี้
1.
การระลึก (Recall) หมายถึงการบอกสิ่งที่เคยเรียนรูมาแล้วการระลึกแบงออกตาม สถานการณที่
เกี่ยวของได 3 แบบคือ
1.1
การระลึกเสรี (Free Recall) คือการบอกสิ่งที่เคยเห็นหรือเคยเรียนมาก่อนระลึกสิ่งใดได้ก็ตอบสิ่งนั้น ไมจําเป็นต้องเรียงลําดับก่อนหลัง
1.2
การระลึกตามลําดับ (Serial Recall) คือการตอบสิ่งที่เรียนมาจากลําดับแรก
จนกระทั่งลําดับสุดทาย
1.3
การระลึกตามตัวแนะ (Cue Recall) คือการบอกสิ่งที่เคยเห็นหรือเรียนรูมาโดยมีตัวชี้แนะ
เปนสิ่งเร้า
2.
การรูจักหรือจำได (Recognition) คือการบอกสิ่งตางๆ ไดเมื่อสิ่งที่เคยเรียนรูปรากฏขึ้นอีกครั้ง
3.
การเรียนซ้ำ (Relearning) เปนการจําไดที่เกิดจากการเรียนซ้ำในสิ่งที่ได้เรียนรูไปแลว
4.
ความคงทนในการจํา (Retention) หมายถึงความสามารถในการระลึกหรือเรียกสิ่งที่ได เรียนรูจําไดเมื่อเวลาผานไปแลวชวงหนึ่ง (Richards,
1987) ซึ่งในการเรียนการสอนภาษาความคงทนในการจำมักมีผูสนใจไดทําการศึกษาไมวาเป็นเสียงคําศัพทโครงสราง
หรือกฎเกณฑตางๆ
ซึ่งคุณภาพของความคงทนในการจําคําศัพทนี้ขึ้นอยูกับคุณภาพของการสอนประสิทธิภาพของคําศัพทและเนื้อหาตลอดจนกิจกรรมตางๆ รวมทั้งความสนใจของ
ผูเรียนเองดวย
จากแนวคิดที่เกี่ยวกับประเภทของความจําพอสรุปไดวาการจํานั้นมีหลายแบบแตกตางกัน ไดแกการระลึกเปนการเรียกใชความจําโดยไมตองมีสิ่งใดกระตุน การรูจักหรือจําไดเปนการเรียก
ความจําที่อาศัยสิ่งเราที่เกี่ยวของกับสิ่งที่เคยเรียนรูมากอน
การเรียนซ้ำเปนการเรียกความจําที่ตองมี การเรียนซ้ำสิ่งที่เคยเรียนและความคงทนในการจําเป็นการเรียกความจำมาใช้ได้หลังจากทิ้งชวงไปแลวในระยะเวลาหนึ่ง
ทฤษฏีเกี่ยวกับการลืม
1.
การเสื่อมลงไป
นักจิตวิทยาที่สนับสนุนแนวคิดนี้เชื่อวาขอมูลที่เก็บไวในหนวยความจําจะเสื่อมลง
ไปทันทีที่เวลาผานไป ซึ่งโดยปกติคนเราจะลืมสิ่งที่เพิ่งไดทําผานไปทันทีเวนแตจะนึกถึงสิ่งนั้นบอยๆ
2.
การรบกวนกันของขอมูล
ทฤษฏีนี้กลาววาการลืมเกิดขึ้นจากการที่มีขอมูลอื่นสอดแทรกเขามาใน ระหวางที่เรากําลังจดจํา
การรบกวนกันของขอมูลมีสองประเภทคือ proactive interference และ
retroactive interference (Bernstein. 1999 : 206) ซึ่ง proactive
interference คือการที่ขอมูลเกาที่เคยเรียนรูมากอนหนา นี้เขามารบกวนการเรียนรูขอมูลใหมที่กําลังเรียนรูสวน
retroactive interference คือการที่ขอมูลใหมยอนกลับ ไปรบกวนขอมูลเกาที่เคยเรียนรูมากอน
3.
ความลมเหลวในการกูกลับคืน
คือการที่เราไมสามารถกูขอมูลที่บันทึกไวกลับคืนมาไดเนื่องจาก ไมมีสิ่งกระตุนที่เหมาะสมที่จะทําใหเราสามารถกูขอมูลกลับคืนมาได
4.
แรงจูงใจที่จะลืม
เปนแรงกระตุนจากภายในที่ผลักดันใหเราลืมสิ่งที่ไมพึงปรารถนาอันเนื่องมาจาก มีการเก็บกดประสบการณและความนึกคิดที่ไมพึงปรารถนาใหอยูในระดับจิตไรสํานึก
ทฤษฎีเกี่ยวกับความสามารถดานความจํา
ในทางจิตวิทยา
ไดมีการกลาวถึงทฤษฎีเกี่ยวกับการจําและการลืมไวหลายทฤษฎี แตที่สําคัญสรุปไดมี
4
ทฤษฎี คือ
ทฤษฎีความจําสองกระบวนการ
(Two
– Process Theory of Memory) ทฤษฎีนี้สรางขึ้นโดย
แอตคินสัน และชิฟฟริน (Atkinson and
Shiffrin) ในป ค.ศ. 1968 กลาวถึงความจําระยะสั้นหรือความจําทันทีทันใดและความจําระยะยาววา
ความจําระยะสั้นเปน ความจําชั่วคราว สิ่งใดก็ตามถาอยูในความจําระยะสั้นจะตองไดรับการทบทวนอยูตลอดเวลามิฉะนั้นความจําสิ่งนั้นจะสลายตัวไปอยางรวดเร็ว
ในการทบทวนนั้นเราจะไมสามารถทบทวนทุก สิ่งที่เขามาอยูในระบบความจําระยะสั้น
ดังนั้นจํานวนที่เราจําไดในความจําระยะสั้นจึงมีจํากัด การทบทวนปองกันไมใหความจําสลายตัวไปจากความจําระยะสั้น
และถาสิ่งใดอยูในความจํา ระยะสั้นเปนระยะเวลายิ่งนาน สิ่งนั้นก็มีโอกาสฝงตัวในความจําระยะยาว
ถาเราจําสิ่งใดไดใน 11 ความจําระยะเวลายิ่งนาน สิ่งนั้นก็มีโอกาสฝงตัวในความจําระยะยาว
ถาเราจําสิ่งใดไวในความ จําระยะยาวสิ่งนั้นก็จะติดอยูในความทรงจําตลอดไป
(ชัยพร วิชชาวุธ, 2520 : 71)
ทฤษฎีการสลายตัว
(Decay
Theory) เปนทฤษฎีการลืม กลาววา การลืมเกิด ขึ้นเพราะการละเลยในการทบทวน
หรือไมนําสิ่งที่จะจําไวออกมาใชเปนประจํา การละเลยจะ ทําใหความจําคอย ๆ
สลายตัวไปเองในที่สุด ทฤษฎีการสลายตัวนี้นาจะเปนจริงในความจํา ระยะสั้น
เพราะในความจําระยะสั้นหากเรามิไดจดจอหรือสนใจทบทวนในสิ่งที่ตองการจะจํา เพียงชั่วครูสิ่งนั้นจะหายไปจากความทรงจําทันที
(Adams, 1967 : 23 - 25)
ทฤษฎีการรบกวน
(Interference
Theory) เปนทฤษฎีเกี่ยวกับการลืมที่ยอมรับ กันในปจจุบันทฤษฎีหนึ่ง
ทฤษฎีนี้ขัดแยงกับทฤษฎีการสลายตัว โดยกลาววาเวลาเพียงอยาง เดียวไมสามารถทําใหเกิดการลืมได
แตสิ่งที่เกิดในชวงดังกลาวจะเปนสิ่งคอยรบกวนสิ่งอื่น ๆ ในการจํา การรบกวนนี้ แยกออกเปน
2 แบบ คือ การตามรบกวน (Proactive Interference) หรือการรบกวนตามเวลา หมายถึง สิ่งเกา ๆ
ที่เคยประสบมาแลวหรือจําไดอยูแลวมารบกวน สิ่งที่จะจําใหม ทําใหจําสิ่งเราใหมไมคอยได
อีกแบบของการรบกวนก็คือ การยอนรบกวน (Retroactive Interference) หรือการรบกวนยอนเวลา หมายถึงการพยายามจําสิ่งใหมทําใหลืม สิ่งเกาที่จําไดมากอน
(Adams, 1980 : 299 - 307) จึงกลาวไดวา ทฤษฎีการลืมนี้ เกิดขึ้นโดย
ความรูใหมไปรบกวนความรูเกา
ทําใหลืมความรูเกาและความรูเกาก็สามารถไปรบกวนความรู ใหมไดดวย
ทฤษฎีการจัดกระบวนการตามระดับความลึก (Depth
– of – Processing Theory) ทฤษฎีนี้สรางขึ้นโดย เครก และลอกฮารท (Craik
and Lockhart) ในป 1972 ซึ่ง ขัดแยงกับความคิดของ
แอตคินสัน และชิฟฟริน ที่กลาววา ความจํามีโครงสรางและตัวแปร สําคัญของความจําในความจําระยะยาวก็คือ
ความยาวนานของเวลาที่ทบทวนสิ่งที่จะจําใน ความจําระยะสั้น แตเครก และลอกฮารท
มีความคิดวา ความจําไมมีโครงสรางและความจําที่ เพิ่มขึ้นไมไดเกิดขึ้นเพราะมีเวลาทบทวนในความจําระยะสั้นนาน
แตเกิดขึ้นเพราะความซับ ซอนของการเขารหัสที่ซับซอน หรือการโยงความสัมพันธของสิ่งที่ตองการจํา
ยอมอาศัยเวลา แตเวลาดังกลาวไมใชเพื่อการทบทวน
แตเพื่อการระลึกหรือซับซอนของการกระทํากับสารที่เขา
ไป (การเขารหัส) ถายิ่งลึก (ซับซอน) ก็จะยิ่งจําไดมาก
นั่นคือตองใชเวลามากดวย (ไสว เลี่ยม
แกว,
2528 : 20 - 23)
การลืม
(forgotting)
การลืมมีสาเหตุหลายประการ
คือ
1. การไม่ได้ลงรหัส (Encoding Failure) การลืมอาจเกิดขึ้นเพราะไม่ได้มีการจำตั้งแต่แรก
เช่น บ้านเพื่อนเราที่เราเคยไปเที่ยวหันหน้าไปทางทิศไหน
เราอาจจะตอบไม่ได้ทั้งๆที่เคยไป เพราะไม่ได้จำ
หรือถามว่าเรากระพริบตานาทีละกี่ครั้ง บ้านของเรามีประตูและหน้าต่างกี่บาน
ทั้งที่เป็นบ้านของเราเองแต่เราก็อาจจะตอบไม่ได้ในทันที
เพราะไม่คิดจะจำมาก่อนนั่นเอง
2. เสื่อมสลาย (Decay) เป็นกาารลืมสืบเนื่องจากเกิดจากการเสื่อมสลายของความจำซึ่งเกิดจากกาลเวลาที่นานออกไป
ความจำเก่าๆ อาจถูกแทนที่ได้ความจำที่ใหม่กว่า หรือข้อมูลที่เราจำ
ไม่ได้ถูกนำมาใช้ ทำให้ความจำอ่อนลงไป
3. การลืมเพราะขึ้นอยู่กับสิ่งชี้แนะ (Cue-Dependent Forgetting) บางเรื่องเราจำได้ แต่จำได้แบบคลับคล้ายคลับคลา
ไม่สามารถนำมาใช้ได้หรือไม่สามารถบอกได้ถูก เหมือนติดอยู่ที่ริมฝีปาก
แต่ถ้ามีสิ่งใดมากระตุ้นความจำ เช่น มีคนพูดเรื่องที่ใกล้เคียง
หรือมีการบอกใบ้ ก็จะนำมาใช้ได้หรือนึกออก
4. การรบกวน (Interfere) บางทีการเรียนรู้ใหม่รบกวนก็รบกวนความรู้เก่า
ทำให้ความรู้เก่าหายไป บางทีความเก่าก็รบกวนความรู้ใหม่
ทำให้เราสับสน จำสิ่งที่เรียนรู้ใหม่ไม่ได้ สิ่งเหล่านี้ถือว่าเป็นความลืมที่เกิดจากการรบกวน
5. การเก็บกด (Repression) คนเรามักจะจดจำสิ่งดีๆหรือสิ่งที่ทำให้เรามีควรามสุขในชีวิตได้มากกว่าเหตุการณ์ที่เราไม่ชอบ
เรื่องที่น่าละอาย ไม่ปรารถนาจะให้เกิดขึ้น
เนื่องจากเรามักจะไม่คิดถึงเหตุการณ์ที่เราไม่ชอบ
เป็นการจูงใจเพื่อลืมความจำที่เจ็บปวดหรือความละอายจะถูกเก็บกดให้อยู่ในจิตใต้สำนึก
ในลักษณะที่ไม่อยากจะคิดถึงหรือหลีกเลี่ยงที่จะคิดถึงมัน เป็นต้น
นอกจากนี้
การลืมอาจเกิดขึ้นได้ใน 2
ลักษณะ คือ สาเหตุทางฝ่ากาย เช่น เกิดอุบัติเหตุสมองถูกกระทบกระเทือน เป็นโรคอัลไซเมอร์ หรือสาเหตุทางฝ่ายจิตใจ เช่น
ผู้ป่วยมีเรื่องไม่สบายใจอย่างรุนแรง อาจจะลืมเรื่องราวของตนบางส่วนเป็นช่วงๆ
หรือลืมเรื่องราวทั้งหมดของตน
อย่างไรก็ตาม
เมื่อเรารู้แล้วว่าการจำการลืมเป็นเรื่องที่ซับซ้อนของสมองมนุษย์ก็อย่าเป็นเครียดหรือวิตกกังวลกับภาวะการจำการลืมของตนเอง
เพราะคงจะช่วยอะไรไม่ได้มากนอกจากซ้ำเติมเหตุการณ์ให้เลวร้ายหรือทุกข์หนักขึ้นไปอีก ในทางพระพุทธศาสนาก็มีคำสอนอยู่แล้วว่า
ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนตกอยู่ภายใต้ไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) เบญจขันธ์ทั้งห้าที่ประกอบเป็นตัวตนของเรา (รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ) ก็ล้วนตกอยู่ในลักษณะเช่นเดียวกัน “สัญญา (memory
or recognition)” ในทางพระพุทธศาสนาก็มีลักษณะคล้ายๆกับ “ความจำ” ในความหมายของนักจิตวิทยานั่นเอง...
http://archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/teng0952ah_ch2.pdf
http://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6707/9/Chapter2.pdf
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น